ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย |
งแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อ สืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปีชุมชนท่าข้าม อำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ |
The Guidelines Cultural Heritage Information Management for 100 Year Nora Dance Thakam Hatyai District Songkhla Province |
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ | ดร. มุจลินทร์ ผลกล้า |
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย |
งบวิจัยคณะ (เงินบำรุงการศึกษา) |
สาขาการวิจัย |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
ปีงบประมาณ |
2566 |
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย |
1 ปี |
งบประมาณ |
9,000 บาท |
พื้นที่ทำการวิจัย |
ต.เขารูปช้าง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา |
ผู้ประสานงานในพื้นที่ |
นายสินธพ อินทรัตน์ |
สถานะของผู้ประสานงาน |
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม |
ประเภทงานวิจัย |
เดี่ยว |
สถานะงานวิจัย |
กำลังดำเนินการ |
คำสำคัญ |
การจัดการสารสนเทศ มรดกทางวัฒนธรรม โนรา |
บทคัดย่อ |
ระบุบทคัดย่อ“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
“โนรา” ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ จากองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) เป็นอันดับ 3รองจากโขน (ปีพุทธศักราช 2561) และนวดไทย (ปีพุทธศักราช 2562) โนรา นับเป็นศิลปวัฒนธรรมทีทรงคุณค่าและมีความสำคัญในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์โดดเด่นด้านศิลปะการแสดงที่สืบทอดมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-19 (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) และโนรามีลักษระที่สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ตามที่ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage, 2003) ถึง 4 สาขาด้วยกันคือ 1) มุขปาฐะ ๒) ศิลปะการแสดง ๓) การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและงานเทศกาล ๔) งานช่างฝีมือดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบันมีคณะโนราอาชีพในประเทศไทยจำนวน 378 คณะ ได้กระจุกตัวอยู่มากบริเวณรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาถึง 70% (ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์, 2564) อีกทั้งมีการสืบทอดศิลปะทั้งด้านการแสดง ช่างฝีมือ ดนตรี และพิธีกรรมจากรุ่นสู่รุ่นผ่านสายตระกูลโนรา ชุมชน วัด จนกระทั่งเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วภาคใต้
ในส่วนของภูมิปัญญาโนรา ได้แบ่งเป็น 2ประเด็นหลักคือ ภูมิปัญญาด้านการสร้างตำนานและประวัติความเป็นมาของโนรา และภูมิปัญญาด้านานคติความเชื่อ (พิทยา บุษรารัตน์, 2553) ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการดำรงอยู่ของความมีวิถีผูกพันอย่างลึกซึ้งกับชีวิตสังคมชาวภาคใต้ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมอย่างเข้มข้นและส่งผลโดยตรงต่อผู้เป็นโนรื้อสาย ลูกหลานตายายโนรา ที่แสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณด้วยการสืบทอดเชื้อสายโนราต่อๆกันมา
และเมื่อกล่าวถึงโนรา ในชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่มีเรื่องราวของโนรามาแต่โบราณกาลสืบสานต่อยอดกันมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นระยะเวลากว่า 100 ปี ตั้งแต่ โนราคล้าย แก้วสัตยา โนราชุม แก้วสัตยา โนราเงาะ โนราอินแก้ว ทองสมสี โนราบุญแก้ว ทองสมสี โนราไข่แก้ว โนรารักษ์ ไชยภักดี โนราเรือง โนราสีนุ่น รัตนะนุพงษ์ และโนราอรุณ แก้วสัตยา (จรูญ หยูทอง, 2564) ซึ่งโนราที่ได้ยกตัวอย่างมาข้างต้น เป็นโนราระดับชั้นครูหมอของชุมชนท่าข้าม ที่มีลูกหลานสืบทอดรับช่วงผสานความเชื่อต่อๆมาเพื่อดูแลรักษาภูมิปัญญาต่างๆ เช่น ตำนาน ประวัติศาสตร์โนรา ท่ารำ เครื่องดนตรี เครื่องแต่งกาย พิธีกรรมต่างๆไว้ จนปัจจุบันก็ยังมีธรรมเนียมปฏิบัติของคนในชุมชนท่าข้าม ร่วมกันขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาโนราชุมชนท่าข้ามโดยการไหว้ครูหมอโนราเป็นประจำทุกปี ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามนำโดย นายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามและคณะกรรมการวัฒนธรรมชุมชนได้จัดสร้างอาคารศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมชุมชนท่าข้าม และมีความประสงค์จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโนรา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ควรเก็บรักษาอย่างยิ่งไว้ที่ศูนย์แห่งนี้อีกด้วย (สินธพ อินทรัตน์, สัมภาษณ์ 2565)
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นนักสารสนเทศศาสตร์ จึงสนใจศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานรากเหง้าของภูมิปัญญาโนรา 100ปี ชุมชนท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาโดยจะดำเนินการศึกษาถึงสภาพปัจจุบันของมรดกภูมิปัญญาโนรา 100 ปี ชุมชนท่าข้าม และนำมาหาแนวทางในการจัดการสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่น่าเชื่อถือมากที่สุดเพื่อนำมาเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลังได้
รับทราบถึงรากเหง่าสายโนราชุมชนท่าข้าม เพื่อจะได้ร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ รักษา และต่อยอดให้โนรา
ท่าข้ามดำรงอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน และในอนาคตอาจได้นำข้อมูลสารสนเทศที่มีการจัดเก็บเป็นระบบนี้ไปถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจเพิ่มขึ้นในโอกาสต่อไปได้
|
Fulltext |
ไม่มีไฟล์ |
จำนวนการอ่าน |
|
|