ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย การวิเคราะห์ปริมาณตะกั่วในปุ๋ยหมักจากขยะมูลฝอยที่ผ่านการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาลสำนักงานเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ analysis of Lead in Fertilizer of Solids waste from Sanitarry Landfill of Songkhla Municipality

ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการผศ.ดร. สุชีวรรณ ยอยรู้รอบ

รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย กองทุนพัฒนาการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ปีงบประมาณ 2548
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย 1 ปี
งบประมาณ ไม่ระบุ
พื้นที่ทำการวิจัย ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่ ไม่ระบุ
สถานะของผู้ประสานงาน ไม่ระบุ
ประเภทงานวิจัย เดี่ยว
สถานะงานวิจัย ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ ตะกั่ว, ปุ๊ยหมัก, ขยะมูลฝอย, พืช
บทคัดย่อ        จากการวิเคราะห์ปริมาณตะกั่วในปุ๋ยหมักจากขยะมูลฝอยที่ผ่านการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล  สำนักงานเทศบาลนครสงขลา จ.สงขลา  โดนใช้วิธีการหมักแบบ Aerobic Composting ซึ่งเป็นระบบใช้เชื้อจุลินทรีย์เป็นสารเร่ง  และใช้ระยะเวลาในการหมัก 35 วัน  ซึีงในการหมักในครั้งนี้ได้้เชื้อจุลินทรีย์ประเภทสารเร่ง พด.1 เป็นาสารเร่ง พบว่า มีตะกั่วปนเปื้อนในปุ๊ยหมักจากขยะมูลฝอยที่ผ่านการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล 0.0027 ppm  ซึ่งเป้นปริมาณที่น้อยมาก  และไม่เป็นอันตรายต่อพืช

       ปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส และโพเเทสเซียม เมื่อสิ้นสุดการหมักมีค่าเท่ากับ 1.28%, 120%, และ 1.05% ตามลำดับ  ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมในการเป้นปุ๋ยหมักและอยู่ในช่วงที่พืชสามารถ  นำไปใช้ประโยชน์ได้  เนื่องจากปุ๋ยที่ผ่านกระบวนการหมักมีการกำหนดคุณภาพและมาตรฐานในด้านเกรดปุ๋ย  ซึ่งไม่ควรต่ำกว่า 1.0-1.0-0.5 (เปอร์เซ็นต์ของ NKP  ตามลำดับ) (กรมพัฒนาที่เดิน , 2540)
  
       ดังนั้นสามารถนำปุ๋ยหมักจากขยะมูลฝอยที่ผ่านการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล  สำนักงานเทศบาลนครสงขลา จ.สงขลา  ไปใช้ประโยชน์ในการทำการเกษตรได้
Fulltext ไม่มีไฟล์
จำนวนการอ่าน

Best Screen Resolution 1024x768 pixel and Text Size as Medium

Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by IRD.SKRU