หน้าแรก
เว็บไซต์สถาบันวิจัย
ข้อมูลนักวิจัย
แสดงข้อมูลนักวิจัย
ค้นหาข้อมูลนักวิจัย
โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
แสดงโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
ค้นหาโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
รายงานข้อมูล
คู่มือการใช้งาน
คู่มือสำหรับนักวิจัย
คู่มือสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ
เข้าสู่ระบบ
ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
การจำลองภาพจิตรกรรมฝาผนังและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบภาพ กรณีศึกษา วัดจะทิ้งพระ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
The Duplication and Anlysis of Visual Elements in Traditional Thai Buddhist ซ A Case study Jatingpra Temple Satingpra District Songkhla Provin .
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
นาย ระพีพัฒน์ ผลรัตนไพบูลย์
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย
สาขาการศึกษา
ปีงบประมาณ
2551
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
1 ปี
งบประมาณ
150,000 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย
ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่
ไม่ระบุ
สถานะของผู้ประสานงาน
ไม่ระบุ
ประเภทงานวิจัย
เดี่ยว
สถานะงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ
จำลองภาพ , วิหารพ่อเฒ่านอน จำลองภาพ ,วิหารพ่อเฒ่านอน
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นการอนุรักษ์ไว้ซึ่งรูปแบบ อัตลักษณ์แห่งภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่น โดยวิธีการจำลองผลงานให้มีขนาด รูปแบบ และสี ที่มีความใกล้เคียงที่สุดกับที่มีอยู่ เพื่อว่าหากผลงานจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นต้นแบบเกิดความเสียหาย เสื่อมสภาพ หรือพังทลายไปตามกาลเวลาก็ยังมีผลงานจำลองให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษา
จิตรกรรมฝาผนังในวิหารพุทธไสนาส (พ่อเฒ่านอน) เขียนขึ้นช่วงปลายรัชกาลที่ ๕ เป็นเรื่องพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากจากสวรรค์ดาวดึงส์ เมื่อองค์สัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปดปรดพุทธมารดาแสดงสัตตปกรณาภิธรรมเทศนา ยมกปาฏิหาริย์ ทำให้พระพุทธมารดาได้สดับแล้วทรงบรรลุโสดาปัตติผลในที่สุด และเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ดาวดึงส์พุทธสาวกได้รอรับพระพุทธองค์และมีการตักบาตรซึ่งการตักบาตรในวันนี้เรียกว่า "ตักบาตรเทโว" ย่อมาจาก โทโวโรหณะ แปลว่า การตักบาตรเนื่องในวันคล้ายวันพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลกนั่นเอง
ความสำคัญ คุณค่าของงานจิตรกรรมฝาผนังในการวิจัยครั้งนี้มิได้กล่าวถึงแต่เพียงวัดจะทิ้งพระเพียงแห่งเดียวทั้งนี้ยังมีข้อมูลอื่นๆ เพื่อให้ทราบถึงภูมิหลังแห่งงานจิตรกรรมฝาผนังของไทย ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสุโขไทย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ มีการจัดแบ่งไว้เป็นยุคสมัยรวมถึง รูปแบบ เนื้อหา กระบวนการ วัตถุประสงค์และเทคนิคในการสร้างงานจิตรกรรมฝาผนังในอดีต
จากการศึกษาครั้งนี้ทำให้เห็นถึงความสำคัญของภูมิปัญญาของช่างท้องถิ่น วึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุนให้ชุมชน เยาวชน และผู้สนใจทั่วไปได้เกิดภูมิความรู้และมีสำนึก รัก หวงแหน ในเกียรติภูมิ ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าของบรรพชน
Fulltext
ไม่มีไฟล์
จำนวนการอ่าน
Best Screen Resolution
1024x768
pixel and Text Size as Medium
Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by
IRD.SKRU