หน้าแรก
เว็บไซต์สถาบันวิจัย
ข้อมูลนักวิจัย
แสดงข้อมูลนักวิจัย
ค้นหาข้อมูลนักวิจัย
โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
แสดงโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
ค้นหาโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
รายงานข้อมูล
คู่มือการใช้งาน
คู่มือสำหรับนักวิจัย
คู่มือสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ
เข้าสู่ระบบ
ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
การดูดซับตะกั่วโดยเชื้อ Pseudomonas app. ที่แยกจากน้ำทะเลและน้ำกร่อยบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
Accumulation of Lead Ions by Pseudomonas spp. from Marine and Brackish water in Muang District,Songkhla Province
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร. อัจฉรา เพิ่ม
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย
กองทุนพัฒนาการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ปีงบประมาณ
2549
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
1 ปี
งบประมาณ
ไม่ระบุ
พื้นที่ทำการวิจัย
ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่
ไม่ระบุ
สถานะของผู้ประสานงาน
ไม่ระบุ
ประเภทงานวิจัย
เดี่ยว
สถานะงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ
ตะกั่ว , การดูดซับ , น้ำทะเล , น้ำกร่อย , Pseudomonas spp.
บทคัดย่อ
การแยกแบคทีเรียจากน้ำทะเลและน้ำกร่อย บริเวณ อ.เมือง จ. สงขลา จำนวน 40 ตัวอย่าง สามารถแยกแบคทีเรียทั้งหมดได้ 68 สายพันธุ์ นำมาคัดเลือกเฉพาะแบคทีเรียแกรมลบที่สามารถสร้างเมือก เมื่อนำมาจำแนกชนิดพบว่าเป็น
Pseudomonas aeruginosa
(P3)
Pseudomonas aeruginosa
(P14)
Pseudomonas aeruginosa
(P33)
Pseudomonas aeruginosa
(P37)
Pseudomonas aeruginosa
(P42)
Pseudomonas aeruginosa
(P61) และ
Pseudomonas aeruginosa
(P67) นำมาศึกาาการเจริญในอาหารเลี้ยงเชื้อสูตร C พบว่า
Pseudomonas aeruginosa
(P3) สามารถเจริญได้ดีที่สุด เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับตะกั่วโดยใช้ตัวเซลล์และโพลิเมอร์ชีวภาพของเชื่อ
Pseudomonas aeruginosa
แต่ละสายพันธุ์ โดยใช้สารละลายตะกั่วที่มีความเข้มข้น 4 mg/L พบว่า การดูดซับตะกั่วโดยใช้ตัวเซลล์สามารถดูดซับได้ไม่แตกต่างจากโพลิเมอร์ชีวภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยตัวเซลล์และโพลิเมอร์ชีวภาพจาก
Pseudomonas aeruginosa
(P3) มีประสิทธิภาพในการดูดซับได้ดีกว่า
Pseudomonas aeruginosa
สายพันธุ์อื่นๆ จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลประสิทธิภาพในการดูดซับตะกั่วโดยใช้ตัวเซลล์และโพลิเมอร์ชีวภาพจาก
Pseudomonas aeruginosa
(P3) ให้ผลที่สอดคล้องกัน และไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปริมาณเชื้อที่เหมาะสมคือ 400 mg ปริมาณตะกั่วที่ดุดซับได้ คือ 8 mg/L พีเอชที่ทำให้มีประสิทธิภาพในการดูดซับสูงสุด คือ 6 อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 30 °C และระยะเวลาที่เชื้ออยู่ในสารละลายได้ดีที่สุด คือ 60 นาที
Fulltext
ไม่มีไฟล์
จำนวนการอ่าน
Best Screen Resolution
1024x768
pixel and Text Size as Medium
Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by
IRD.SKRU