ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย ประสิทธิภาพการใช้ระบบน้ำหมุนเวียนร่วมกับผักตบชวาในการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ Efficiency of water Recirculating System incorporated with Water Hyacinth in Hybrid Catfish (C. macrocephalus x C. gariepinus) Culture.

ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการนาย กานตกานท์ เทพณรงค์

รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ปีงบประมาณ 2558
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย 2 ปี
งบประมาณ 60,000 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่ -
สถานะของผู้ประสานงาน -
ประเภทงานวิจัย เดี่ยว
สถานะงานวิจัย ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ ผักตบชวา, ปลาดุกบิ๊กอุย, ระบบน้้าหมุนเวียน
บทคัดย่อ           การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย (Clarias macrocephalus x C. gariepinus) ในระบบน้้าหมุนเวียน ร่วมกับผักตบชวาเพื่อควบคุมคุณภาพน้้าให้เป็นไปตามมาตรฐานน้้าทิ้งของกรมควบคุมมลพิษ วาง แผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ประกอบด้วย 2 ชุดการทดลอง คือ 1) การใช้ระบบน้้าหมุนเวียน ผ่านชั้นกรองกายภาพ และกรองชีวภาพ (T1) และ 2) การใช้ระบบน้้า หมุนเวียน ผ่านชั้นกรองกายภาพ กรองชีวภาพ และผักตบชวา (T2) จ้านวน 3 ซ้้า โดยใส่ปลาในตู้ ทดลองจ้านวน 6 ตู้ๆละ 14 ตัว (ความหนาแน่น 100 ตัว/ลบ.ม.) ท้าการทดลองเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ทุกชุดการทดลองน้้าจะไหลผ่านด้วยอัตรา 200 ล./ชม. ผลการศึกษา พบว่า ชุดการทดลองที่ 2 มี น้้าหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตโดยน้้าหนัก ความยาวที่เพิ่มขึ้น อัตราเจริญเติบโตโดย ความยาว และผลผลิตต่อพื้นที่ สูงกว่าชุดการทดลองที่ 1 อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (p > 0.05) ส่วน คุณภาพน้้าทั้ง 2 ชุดการทดลอง พบว่าทุกพารามิเตอร์อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้้าทิ้งจากการเพาะเลี้ยง สัตว์น้้า ยกเว้นค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ที่ต่้ากว่ามาตรฐาน และชุดการทดลองที่ 2 ควบคุม คุณภาพน้้าในพารามิเตอร์ ค่าบีโอดี แอมโมเนีย ไนเตรท และฟอสเฟต ได้ดีกว่าชุดการทดลองที่ 1 อย่างมีนัยส้าคัญ (p<0.05) ในช่วงสัปดาห์ที่ 7 และ 8 
Fulltext [Download]
จำนวนการอ่าน

Best Screen Resolution 1024x768 pixel and Text Size as Medium

Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by IRD.SKRU