หน้าแรก
เว็บไซต์สถาบันวิจัย
ข้อมูลนักวิจัย
แสดงข้อมูลนักวิจัย
ค้นหาข้อมูลนักวิจัย
โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
แสดงโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
ค้นหาโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
รายงานข้อมูล
คู่มือการใช้งาน
คู่มือสำหรับนักวิจัย
คู่มือสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ
เข้าสู่ระบบ
ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
ละครสร้างสรรค์ส าหรับเด็กพิเศษ กรณีศึกษานักเรียนในสถาบันการศึกษาพิเศษ มรภ.สงขลา
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
Creative Drama for children with special needs: Case study of students in Development Institute for Special Education Songkhla Rajabhat University
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
ผศ. ตถาตา สมพงศ์
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย
กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย
สาขาสังคมวิทยา
ปีงบประมาณ
2558
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
2 ปี
งบประมาณ
31,130 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย
ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่
-
สถานะของผู้ประสานงาน
-
ประเภทงานวิจัย
เดี่ยว
สถานะงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ
ละครสร้างสรรค์, เด็กพิเศษ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบกระบวนการละครสร้างสรรค์สำหรับเด็กพิเศษ กรณีศึกษานักเรียนในสถาบันการศึกษาพิเศษ มรภ.สงขลา โดยน ากระบวนการละครสร้างสรรค์ที่ผู้วิจัย ออกแบบมาดำเนินกิจกรรมกับนักเรียนกลุ่มออทิสติกในสถาบันการศึกษาพิเศษ เพื่อพัฒนาด้านอารมณ์ พฤติกรรมและส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยขั้นตอนการ ดำเนินงาน มีทั้งกิจกรรมที่ทำเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม เช่น กิจกรรมโยคะเด็ก กิจกรรมการเรียนรู้จาก ท่าทางประกอบเพลง “คนพิเศษ” ซึ่งนักเรียนออทิสติกต้องเลียนแบบท่าทางประกอบเพลงจากผู้น ากิจกรรม (ผู้วิจัย) หรือครูผู้สอน นำไปสู่การจัดแสดงละครหุ่นเงาเรื่อง “หม้อดินใบร้าว” เพื่อสร้างความตระหนักให้ นักเรียนออทิสติกเห็นคุณค่าในตนเองจากความสามารถหรือความถนัดของตนที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นในสังคม ได้ ผู้วิจัยได้ทำการสัมภาษณ์ครูชำนาญการพิเศษ ครูพี่เลี้ยงและผู้ปกครองของนักเรียนในสถาบันการศึกษา พิเศษ 2 ครั้ง ครั้งที่1 คือการสัมภาษณ์ก่อนด าเนินกิจกรรมละครสร้างสรรค์สำหรับเด็กพิเศษ เพื่อสอบถาม เกี่ยวกับที่มาของปัญหาเพื่อน ามาออกแบบกระบวนการดังกล่าว จ านวน 6 ท่าน และครั้งที่ 2 คือหลังดำเนิน กิจกรรมละครสร้างสรรค์เพื่อน ามาประเมินผลของกระบวนการละครสร้างสรรค์ จ านวน 4 ท่าน ผลการ ประเมินทำให้ผู้วิจัยเห็นว่า กระบวนการละครสร้างสรรค์สามารถพัฒนาปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรมของ นักเรียนออทิสติกในสถาบันฯ และสามารถส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขได้
Fulltext
[
Download
]
จำนวนการอ่าน
Best Screen Resolution
1024x768
pixel and Text Size as Medium
Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by
IRD.SKRU