หน้าแรก
เว็บไซต์สถาบันวิจัย
ข้อมูลนักวิจัย
แสดงข้อมูลนักวิจัย
ค้นหาข้อมูลนักวิจัย
โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
แสดงโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
ค้นหาโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
รายงานข้อมูล
คู่มือการใช้งาน
คู่มือสำหรับนักวิจัย
คู่มือสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ
เข้าสู่ระบบ
ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
การใช้แคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยทะเลเป็นสารตัวเติมในยางธรรมชาติ
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
-
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
ดร. วัชรินทร์ สายน้ำใส
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย
กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สาขาการวิจัย
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ปีงบประมาณ
2555
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
4 ปี
งบประมาณ
59,000 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย
ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่
-
สถานะของผู้ประสานงาน
-
ประเภทงานวิจัย
เดี่ยว
สถานะงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ
เปลือกหอยทะเล, ยางธรรมชาติ, แคลเซียมคาร์บอเนต
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปริมาณผงแคลเซียมคาร์บอเนตที่ได้จากเปลือกหอยทะเล 5 ชนิด ต่อสมบัติของยางธรรมชาติเปรียบเทียบกับแคลเซียมคาร์บอเนตในทางการค้า พบว่าเมื่อปริมาณของผงแคลเซียมคาร์บอเนตเพิ่มขึ้นส่งผลกระทบต่อความหนืดมูนนี่เพียงเล็กน้อย ในขณะที่เวลาเริ่มคงรูปและระยะเวลาคงรูปมีแนวโน้มสั้นลง และมีค่าลดต่ำลงเพียงเล็กน้อย เมื่อปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตเพิ่มมากขึ้น ส่วนความหนาแน่นและอัตราการ วัลคาไนซ์ของยางคอมเปานด์มีแนวโน้มสูงขึ้นตามปริมาณของแคลเซียมคาร์บอเนตที่เพิ่มขึ้น ในทำนองเดียวกันความแข็ง ปริมาณการเชื่อมโยงจากการบวมพองและค่าอดุลัสที่ระยะยืด 300 เปอร์เซ็นต์ มีค่าเพิ่มขึ้นด้วย แต่ ความต้านทานต่อแรงดึง ความสามารถในการยืดจนขาด ความต้านทานต่อการฉีกขาด ความต้านทานต่อการสึกหรอมีค่าลดลงและการยึดติดระหว่างยางกับแคลเซียมคาร์บอเนตลดลงด้วยเช่นกัน เมื่อเพิ่มปริมาณผงแคลเซียมคาร์บอเนตมากขึ้น พิจารณาสมบัติโดยรวมแล้ว พบว่ายางธรรมชาติที่เติมผงแคลเซียมคาร์บอเนตในทางการค้า และสามารถนำมาใช้เป็นสารตัวเติมในยางธรรมชาติทดแทนแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้ในอุตสาหกรรมยางได้
Fulltext
[
Download
]
จำนวนการอ่าน
Best Screen Resolution
1024x768
pixel and Text Size as Medium
Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by
IRD.SKRU