ปัจจุบันการผลิตพลังงานทดแทนน ้ามันไบโอดีเซลจากสาหร่ายได้รับความสนใจและมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องเนื่องจากสาหร่ายสามารถเจริญได้รวดเร็ว ใช้พื นที่ในการเพาะเลี ยงน้อยเมื่อ เทียบกับการเพาะปลูกปาล์มหรือพืชน ้ามันอื่นๆนอกจากนี น ้ามันในสาหร่ายส่วนใหญ่เป็น ไตรกลีเซอไรด์ การวิจัยนีจึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อคัดแยกสาหร่ายB.brauniiและศึกษาปัจจัยที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายที่สามารถผลิตน โดยเก็บตัวอย่างน้ามันได้สูง ้า 5 แหล่ง ได้แก่ ทะเลสาบตอนล่างทะเลสาบตอนกลาง อ่างเก็บน ้ามหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา อ่างเก็บน ้า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอ่างเก็บน ้าคลองหลาผลการวิเคราะห์พารามิเตอร์ทางกายภาพ พบว่า ค่าpHของน ้าบริเวณทะเลสาบสงขลามีค่าpHสูงกว่าน ้าบริเวณอ่างเก็บน ้าในจังหวัดสงขลา และมีความเค็มเท่ากับ1.93 ± 0.12และ 1.70 ± 0.27 ppm (ทะเลสาบสงขลาตอนล่างและ ตอนกลางตามล้าดับ)ส่วนอุณหภูมิและปริมาณไนโตรเจนทั งหมด พบว่าตัวอย่างน ้าจากบริเวณ ทะเลสาบมีอุณหภูมิและค่าไนโตรเจนทั งหมดต่้ากว่าบริเวณอ่างเก็บน ้าBODนอกจากนี5และDOค่า พบว่าตัวอย่างน ้าที่เก็บจากทะเลสาบและอ่างเก็บน ้ามีค่าใกล้เคียงกันจากนันน้ามาแยกสาหร่าย B.braunii โดยเพาะเลี ยงในอาหารBG-11 พบว่า สามารถแยกสาหร่ายB. braunii ได้ทั งหมด 18 ไอโซเลท แล้วน้ามาคัดเลือกสาหร่ายที่มีความสามารถเจริญเติบโตได้ดี พบว่าL2ไอโซเลทมีน ้าหนัก เซลล์แห้งสูงสุดเท่ากับ0.708 ± 0.067กรัม/ลิตร (ปริมาณน ้ามันเท่ากับ0.035± 0.007กรัม/ลิตร) ผลการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเจริญของสาหร่ายB.brauniiโดยศึกษาปริมาณแหล่งคาร์บอน ที่เหมาะสมและอัตราส่วนC/Nที่เหมาะสมพบว่าปริมาณแหล่งคาร์บอนที่เหมาะสม ที่ความเข้มข้นของน ้าตาลกลูโคส4กรัมต่อลิตร เซลล์สาหร่ายสามารถสะสมน ้ามันได้ปริมาณสูงเซ็นต์คิดเป็นเปอร์ ยีลด์Yield() เท่ากับ11.91เปอร์เซ็นต์ ส่วนผลของอัตราส่วนC/Nที่เหมาะสม พบว่า อัตราส่วน C/N เท่ากับ10 มีปริมาณน ้ามันสูงสุด โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ยีลด์เท่ากับ14.28 และจากการศึกษาองค์ประกอบของน ้ามันจากสาหร่ายB.brauniiไอโซเลท L2ซึ่งผ่านการคัดเลือก โดย วิเคราะห์Fatty Acid Methyl Esters (FAMEs)ด้วยGas Chromatography (GC)พบว่าสาหร่าย สามารถผลิตกรดไขมัน(Fatty Acid)ซึ่งมีปริมาณPalmitic Acid (C16:0)สูงสุด คือ 37.12 เปอร์เซ็นต์รองลงมา คือOleic Acid (C18:1)เท่ากับ24.65เปอร์เซ็นต์จากผลการทดลองสรุปได้ ว่า สาหร่ายB. brauniiไอโซเลท L2มีศักยภาพในการประยุกต์ต่อยอดเพื่อใช้ผลิตน ้ามันไบโอดีเซล