หน้าแรก
เว็บไซต์สถาบันวิจัย
ข้อมูลนักวิจัย
แสดงข้อมูลนักวิจัย
ค้นหาข้อมูลนักวิจัย
โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
แสดงโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
ค้นหาโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้น
รายงานข้อมูล
คู่มือการใช้งาน
คู่มือสำหรับนักวิจัย
คู่มือสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ
เข้าสู่ระบบ
ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
การพลิกฟื้นภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชน
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
The Procedure of Local Wisdom Recover to Promote Community Health
ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการ
ดร. นฤภร ไชยสุขทักษิณ
ผู้ร่วมวิจัย
นางสาว สุจิรา วิจิตร
ผู้ร่วมวิจัย
นางสาว มาริสา จันทร์ฉาย
ผู้ร่วมวิจัย
นางสาว อรทัย ไพยรัตน์
ผู้ร่วมวิจัย
นาง ณัฏิยา ชูถึง พรหมจันทร์
รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
สาขาการวิจัย
สาขาสังคมวิทยา
ปีงบประมาณ
2554
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
5 ปี
งบประมาณ
296,100 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย
ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่
-
สถานะของผู้ประสานงาน
-
ประเภทงานวิจัย
เดี่ยว
สถานะงานวิจัย
ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ
สุขภาวะชุมชน, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการศึกษาบริบทชุมชน การสืบค้นภูมิปัญญาจนถึงกระบวนการร่างหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการถ่ายทอดในพื้นที่ชุมชนวัดดอน ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการวิจัยพบว่า
ภูมิปัญญาที่ปรากฏสามารถนำเสนอได้ดังนี้
- กลุ่มภูมิปัญญาที่ได้รับจากสืบทอดจากบรรพบุรุษ ได้แก่ ภูมิปัญญาการขุดเรือหางยาว ภูมิปัญญาทางแทงหยวก ภูมิปัญญาการละเล่นพื้นบ้าน เช่น เพลงบอก เพลงร้องเรือ ภูมิปัญญาการทำเชือกกล้วย ภูมิปัญญาการทำขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมเดือนสิบ ขนมทองม้วน ภูมิปัญญาเกี่ยวกับยา รักษาโรคด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน
- กลุ่มภูมิปัญญาที่ได้รับจากถ่ายทอดจากส่วนราชการที่เข้าไปมีบทบาทในการพัฒนา ได้แก่ ภูมิปัญญาจากการจักรสานเชือกกล้วย ภูมิปัญญาจากากรทำน้ำส้มควันไม้ ภูมิปัญญาการทำสบู่จากน้ำส้มควันไม้ ภูมิปัญญาการทำน้ำหมักชีวภาพ ภูมิปัญญาการทำน้ำยาเอนกประสงค์
หลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชน ได้แก่ ภูมิปัญญาการทำน้ำส้มควันไม้ ภูมิปัญญาการทำสบู่จากน้ำส้มควันไม้ ภูมิปัญญาการทำน้ำหมักชีวภาพ ภูมิปัญญาการทำน้ำยาเอนกประสงค์ ซึ่งมีความเชื่อมโยงการดำเนินกิจกรรมระหว่างกัน
ข้อเสนอแนะ
1) ชุมชนควรมีการนำหลักสูตรที่ได้ร่างขึ้นไปใช้ฝึกอบรมให้กับชาวบ้านในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง
2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรปรับรูปแบบวิธีการดำเนินการในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและการประยุกษ์ใช้ในการพัฒนาร่วมกับชาวบ้านในชุมชน
Fulltext
[
Download
]
จำนวนการอ่าน
Best Screen Resolution
1024x768
pixel and Text Size as Medium
Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by
IRD.SKRU