ชื่องานวิจัย
ชื่องานวิจัยภาษาไทย อิทธิพลของสภาวะการเพาะเลี้ยงที่มีต่อการผลิตสารสีโดย Monascus sp. LCI เพื่อใช้เป็นสารเร่งสีและการยับยั้งเชื้อ Aeromanas hydrophila
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ Influence of Cuture on the Production of Pigment Produced by Monascus sp. LCI to Enhance Color and Inhibition Aeromonas hydrophiloa in Goldfish (Carassiue auratus)

ผู้ร่วมทำงานวิจัย
หัวหน้าโครงการผศ. เสาวนิตย์ ชอบบุญ

รายละเอียดงานวิจัย
แหล่งทุนวิจัย แหล่งทุนภายนอก - สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สาขาการวิจัย สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ปีงบประมาณ 2552
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย 1
งบประมาณ 10,000 บาท
พื้นที่ทำการวิจัย ต.เขารูปช้าง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา
ผู้ประสานงานในพื้นที่ -
สถานะของผู้ประสานงาน -
ประเภทงานวิจัย กลุ่ม
สถานะงานวิจัย ดำเนินการเสร็จสิ้น
คำสำคัญ Monascus sp. LCI สารสี ข้าวแดง ซิตรินิน ปลาทอง เชื้อ Aeromonas hydrophiloa
บทคัดย่อ     เชื้อรา Monascus  เป็นแหล้งผลิตสารสีจากธรรมชาติตั้งแต่สีเหลือง ถึงสีแดง ใช้เป็นสารให้สีในอาหารประเภทต่าง ๆ การศึกษาครั้งนี้ต้องการศึกษาผลของ กล้าเชื้อ  อุณหภูมิการบ่มเชื้อ  เวลาในการแช่ข้าว  ต่อการผลิตสารสีแดงบนข้าว  โดย Monascus sp. LCI ในถุงพลาสติกโดยนำปัจจัยต่าง ๆ มาศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมโดยการออกแบบสูตรโดยวิธี  Two-level  factorial desing  ผลการทดลองพบว่าสูตรที่ ประกอบด้วยกล้าเชื้อ 3กรัม อุณหภูมิบ่มเชื้อ 25 องศา  ในการแช่ข้าว 120 นาที  อุณหภูมิสำหรับการฆ่าเชื้อข้าว 80 องศาส นาน 15 นาที  เป็นสูตรที่ Monascus sp. LCI ผลิตสารสีแดงสูงสุด  194+-9.89 ยูนิตต่อกรัมเมื่อบ่มนาน 14 วัน เมื่อนำข้าวแดงมาวิเคราะห์องค์ประกอบ  โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต  ในโตรเจนทั้งหมดคิดเป็น 11.26 +- 5.7  , 6.0+- 0.7 , 810.08 +- 7.6 และ 1.8 +- 0.8 เปอร์เซ็นต์  ตามลำดับ  
Fulltext ไม่มีไฟล์
จำนวนการอ่าน

Best Screen Resolution 1024x768 pixel and Text Size as Medium

Copyright 2012 All Rights Reserved | Power by IRD.SKRU