งานวิจัย
สิริมาภรณ์ วัชรกุล และคณะ. (2567). ศึกษาฤทธิ์ของพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าหลุมยุบดึกดําบรรพ์บริเวณอุทยานธรณีโลกสตูลต่อการต้าน เชื้อแบคทีเรียดื้อยากลุ่มที่ผลิตเอ็นไซม์ ESBL เพื่อพัฒนาเป็นยาเพื่อใช้ภายนอกในรูปแบบแผ่นปิดแผลสมุนไพร. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
สิริมาภรณ์ วัชรกุล และคณะ. (2566). การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรท้องถิ่นในพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูลเพื่อยับยั้งเชื้อก่อโรคและเชื้อดื้อยาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นพลาสเตอร์ปิดแผลลดการอักเสบจากการติดเชื้อ. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
สิริมาภรณ์ วัชรกุล และคณะ. (2565). พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์แผ่นพลาสติกปิดแผลจากน้ำมันหอมระเหยต้นตระไคร้บ้านในพื้นที่อำเภอสทิงพระ เพื่อลดการอักเสบและเกิดหนองจากการติดเชื้อ Staphylococcus oureus. ได้รับทุนสนับสนุนจากงบวิจัยคณะ (เงินบำรุงการศึกษา).
สายใจ วัฒนเสน และสิริมาภรณ์ วัชรกุล. (2568). สารชีวภัณฑ์จากเชื้อแอคติโนมัยซีทสำหรับควบคุมเชื้อราก่อโรคพืช. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2561) .
การคัดแยกจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายน้ามันหล่อลื่นพื้นฐานจากปิโตรเลียมปนเปื้อนบริเวณท่าเรือนำ้ลึกสงขลา .
การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4
วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ,
119-130
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2562) .
การคัดแยกและคัดเลือกแบคทีเรียผลิตพอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอตจากดินบริเวณที่มีการปนเปื้อนนํ้ามันในจังหวัดสงขลา .
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ , (3)1 ,
91-104
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2564) .
ฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในช่องปาก .
การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 3 ประจาปี 2564
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อชุมชน , (3)1 ,
255-264
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2564) .
ฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากต้นตะไคร้บ้านในจังหวัดสงขลาต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรค .
การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 14 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในยุคโควิด-19 , (14)- ,
ST12-1
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2564) .
ฤทธิ์ของน้ำมันหอมระเหยต่อการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรค .
การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 14 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมในยุคโควิด-19 , (14)- ,
ST11-1
สิริมาภรณ์ วัชรกุล .
(2567) .
องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำมันหอมระเหยจากใบตะไคร้บ้านต่อการต้านเชื้อก่อโรคและเชื้อก่อโรคดื้อยาแกรมลบกลุ่ม ESBL .
Life Sciences and Environment Journal , (25)1 ,
13-24 . https://doi.org/10.14456/lsej.2024.2.