งานวิจัย
รักษิณา หยดย้อย. (2567). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยสําหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
รักษิณา หยดย้อย. (2565). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของคณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid 19. ได้รับทุนสนับสนุนจากงบวิจัยคณะ (เงินบำรุงการศึกษา).
รักษิณา หยดย้อย. (2564). การศึกษาแนวทางการดำเนินงานหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ได้รับทุนสนับสนุนจาก.
รักษิณา หยดย้อย และคณะ. (2563). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรการศึกษาพิเศษ-ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีการศึกษา 2563. ได้รับทุนสนับสนุนจากงบวิจัยคณะ (เงินบำรุงการศึกษา).
รักษิณา หยดย้อย. (2560). การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
รักษิณา หยดย้อย. (2557). การศึกษาทักษะการช่วยเหลือตนเองของเด็กที่มีความต้องการ พิเศษโดยใช้โปรแกรมการอบรมผู้ปกครอง. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
รักษิณา หยดย้อย .
(2563) .
การศึกษาแนวทางการดำเนินงานหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. .
รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ
ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 6 , (6)1 ,
18
รักษิณา หยดย้อย .
(2568) .
การพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำมาตราแม่ ก กา ของนักเรียนออทิสติกชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้สื่อจอหรรษาพาสะกดร่วมกับแบบฝึกหัด .
วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด , (5)1 ,
149-159 . http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/2708/1761