งานวิจัย
สัลวา ตอปี และคณะ. (2569). การพัฒนาหัวเชื้อในกระบวนการหมักอาหารหยาบสำหรับแพะและนมแพะหมักสู่ชุมชนเพื่อความยั่งยืน. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
สัลวา ตอปี และคณะ. (2555). ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย Botryococus braunii ที่ส่งผลต่อการผลิตน้ำมันสูง. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
วีระชัย แสงฉาย และสัลวา ตอปี. (2557). การประยุกต์ใช้ฟิล์มบางไทเทเนียมไดออกไซด์เคลือบบนใยแก้วเพื่อใช้ในการทำความสะอาดน้ำดื่ม. ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน(วช.).
นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง และสัลวา ตอปี. (2565). การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรชายฝั่งทะเลเพื่อการท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ตามวิถีชุมชนในอุทยานธรณีโลกสตูล : กรณีศึกษาเกาะสาหร่าย. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง และสัลวา ตอปี. (2566). การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรชายฝั่งทะเลเพื่อการท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ตามวิถีชุมชนในอุทยานธรณีโลกสตูล : กรณีศึกษาเกาะสาหร่าย. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
สายใจ วัฒนเสน และสัลวา ตอปี. (2568). สารชีวภัณฑ์จากเชื้อแอคติโนมัยซีทสำหรับควบคุมเชื้อราก่อโรคพืช. ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.).
ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
สัลวา ตอปี .
(2558) .
การคัดแยกสาหร่าย Botryoccus braunii KutZ จากทะเลสาบที่ผลิตลิพิดได้สูง .
การประชุมวิชาการสาาหร่ายและแพลงก์ตอนแห่งชาติ ครั้งที่ 7 , (2558)0 ,
77-83
Salwa Torpee
,Pajongsuk Sutarut
and saijai wattanasan
.
(2025) .
Challenges of exopolysaccharides production from polystyrene degradation by bacterium CHB 1.5 strain .
Biodegradation , (2025)36:27 ,
1-11 . https://doi.org/10.1007/s10532-025-10122-8
สัลวา ตอปี .
(2568) .
ฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันใบระกำ .
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ , (9)1 ,
63-76 . https://ph02.tci-thaijo.org /index.php/scibru/article/view/257816