รายละเอียดข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่
ชื่อบทความ |
การประเมินความต้องการจ าเป็นของครูในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน |
ประเภทการตีพิมพ์ |
วารสารวิชาการระดับชาติ |
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร |
วารสารสถาบันราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ |
ผู้แต่ง |
โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช
|
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ |
25 ธ.ค. 2567 |
ปีที่ |
20 |
ฉบับที่ |
2 |
หมายเลขหน้า |
44-59 |
ลักษณะบทความ |
|
Abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจ าเป็นของครูในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และ2) เสนอแนวทางในการพัฒนาความสามารถของครูด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนโสตศึกษา จ านวน 273 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือ แบบสอบถามความต้องการจ าเป็นการวัดและแระเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะและแบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาความสามารถด้านการวัดและประเมินผลฐานสมรรถนะด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน PNIModifiedและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า1) ค่าดัชนีความต้องการจ าเป็นของครูในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินสูงที่สุดคือ ด้านทักษะ (PNIModified= 0.22)รองลงมาคือ ด้านความรู้ (PNIModified= 0.20)และด้านคุณลักษณะ (PNIModified= 0.16) ตามล าดับ และ2) แนวทางการพัฒนาความสามารถของครูด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ สรุปได้7 แนวทางแบ่งเป็นด้านความรู้ จ านวน 3 แนวทางคือการก าหนดนโยบายหรือแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะการจัดท าแผนหรือโครงการเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะและการจัดท าระบบสนับสนุนการเรียนรู้ของครูด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะด้านทักษะ จ านวน 2 แนวทางคือ การก าหนดแนวปฏิบัติและต้นแบบส าหรับการวัดและประเมินผลการเรียนฐานสมรรถนะของสถานศึกษาและการจัดทีมผู้เชี่ยวชาญให้ค าปรึกษา การลงมือปฏิบัติและการติดตามผลการปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนฐานสมรรถนะและด้านคุณลักษณะ จ านวน 2 แนวทาง คือ การก าหนดนโยบายหรือแนวปฏิบัติในการคัดเลือกครูที่มีความรู้ ความสามารถและพร้อมการเป็นครูการศึกษาพิเศษ และการเสริมแรงทางบวกให้กับครูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท างาน |