ชื่อบทความ | ผลของสารสกัดหยาบจากชุมเห็ดไทยต่อ cell-surface hydrophobicity ของเชื้อ methicillin-resistant Staphylococcus aureus |
---|---|
ประเภทการตีพิมพ์ | ประชุมวิชาการระดับชาติ |
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร | ประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 |
ผู้แต่ง |
อัจฉรา เพิ่ม |
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ | 30 ส.ค. 2564 |
ปีที่ | - |
ฉบับที่ | - |
หมายเลขหน้า | 99-105 |
ลักษณะบทความ | |
Abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากใบชุมเห็ดไทยที่ระดับความเข้มข้น MIC (1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร) 2MIC (2 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร) และ 4MIC (4 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร) ต่อการเปลี่ยนแปลงความไม่ชอบน้้าของผิวเซลล์(cell-surface hydrophobicity; CSH) ข อ ง เชื้ อ methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) โด ย วิ ธี bacterial adherence to hexadecane (BATH) พ บ ว่ า CSH ข อ งเชื้ อ พิ จ าร ณ าจ ากค่ าดั ช นี ค ว าม ไม่ ช อ บ น้้ า(hydrophobicity index, HPBI) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม low hydrophobicity (HPBI≥0<25) มีจ้านวน 7 สายพันธุ์ (23.33%) และกลุ่ม high hydrophobicity (HPBI≥25≤100) มีจ้านวน 23 สายพันธุ์ (76.67%) ทดสอบสารสกัดหยาบแต่ละความเข้มข้นท้าให้ค่า HPBI ของเชื้อ MRSA กลุ่ม low HPBI และเชื้อ MRSA กลุ่ม high HPBI มีค่าเพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 64.50-87.35 และ 80.35-94.27 ตามล้าดับ โดยที่เชื้อ MRSA7 กลุ่ม high HPBI มีค่า HPBI สูงสุด เมื่อน้าเชื้อ MRSA7 มาทดสอบ ด้วยสารสกัดหยาบที่ระดับความเข้มข้น MIC, 2MIC และ4MIC มีค่าเป็น 82.23, 89.27 แ ะ 94.27 ั จะเห็นได้ว่าสารสกัดหยาบมีผลท้าให้ค่า HPBI ของเชื้อ MRSA แต่ละสายพันธุ์เพิ่มขึ้นจะมีผลในการยับยั้งการเกาะติดของเชื้อที่ผิวเซลล์ของโฮสต์ |