ชื่อบทความ | ภาพสะท้อนสังคมจากสำนวนเปรียบเทียบเชิงตำหนิในภาษาไทยถิ่นใต้ |
---|---|
ประเภทการตีพิมพ์ | ประชุมวิชาการระดับชาติ |
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร | รวมบทความวิจัย โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม |
ผู้แต่ง |
ชนางลักษณ์ ขุนทอง กีรกิต จิตสมบูรณ์ สุจินต์ แก้วเกิด |
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ | 17 ส.ค. 2563 |
ปีที่ | 6 |
ฉบับที่ | 1 |
หมายเลขหน้า | 246-254 |
ลักษณะบทความ | บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ |
Abstract | ภาษาสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทย การศึกษาภาษาถิ่นต่าง ๆ จะท าให้เราเห็นวิถีชีวิตของคนถิ่นนั้นได้เป็นอย่างดี การศึกษา ภาษาไทยถิ่นใต้ จึงสะท้อนอัตลักษณ์ของคนใต้ ผ่านถ้อยค าส านวนการพูดภาษาถิ่น โดยเฉพาะการพูดส านวนเปรียบเทียบในภาษาไทยถิ่น ใต้ที่มีปรากฏเป็นจ านวนมาก บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทยของคนถิ่นใต้ จากส านวน เปรียบเทียบเชิงต าหนิในถ้อยค าภาษาถิ่นใต้ โดยการศึกษาข้อมูลจากพจนานุกรมภาษาถิ่นใต้ หนังสือเกี่ยวกับถ้อยค าภาษาถิ่นใต้ และ สังเกตการพูดของคนถิ่นใต้รอบตัวผู้เขียน โดยการรวบรวมเฉพาะส านวนเปรียบเทียบเชิงต าหนิบุคคลในเรื่องรูปลักษณ์ พฤติกรรม ลักษณะ นิสัย และกิริยาอาการที่ไม่ปรกติในภาษาไทยถิ่นใต้ รวมจ านวน 257 ส านวน ผู้เขียนได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาพสะท้อน, วรรณกรรมกับสังคม และแนวคิดในส านวนไทย เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทยถิ่นใต้ ผลการศึกษาพบว่า ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมถิ่นใต้จากส านวนเปรียบเทียบเชิงต าหนิ ปรากฏ 11 ด้าน ดังนี้ 1) ความเชื่อเรื่องผีเปรตและไสยศาสตร์, 2) คนใต้มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ, 3) ข้าวของเครื่องใช้ของคนถิ่นใต้, 4) วัฒนธรรมอาหารการกิน, 5) การอยู่ร่วมสังคมกับชาติพันธุ์อื่น, 6) การแสดงพื้นบ้านและประเพณีถิ่นใต้, 7) สถานที่และสิ่งปลูกสร้างของถิ่นใต้, 8) ภาพชนชั้นหรือ สถานะบุคคลในสังคมถิ่นใต้, 9) ค่านิยมเรื่องเพศของคนถิ่นใต้, 10) การเดินทางหรือพาหนะของคนถิ่นใต้, 11) คนใต้กับนิทานพื้นบ้านไทย |