ชื่อบทความ | การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น : เรื่อง เมืองสตูล โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม THE DEVELOPMENT OF LOCAL LEARNING UNIT ON THE TOPIC : SATUN CITY BY USING CIPPA MODEL IN SOCIAL STUDI |
---|---|
ประเภทการตีพิมพ์ | วารสารวิชาการระดับชาติ |
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร | วารพุทธศาสตร์ มจร.อุบลราชธานี |
ผู้แต่ง |
พนัชกร พิทธิยะกุล |
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ | 1 ก.ย. 2567 |
ปีที่ | ปีที่ 6 เล |
ฉบับที่ | ฉบับที่ 3 |
หมายเลขหน้า | 45-56 |
ลักษณะบทความ | |
Abstract | -การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น : เรื่อง เมืองสตูล โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม THE DEVELOPMENT OF LOCAL LEARNING UNIT ON THE TOPIC : SATUN CITY BY USING CIPPA MODEL IN SOCIAL STUDIES, RELIGION AND CULTURE 1พนัชกร พิทธิยะกุล 1 Panatchakorn Pittiyakul 1สังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, ประเทศไทย 1Under Songkhla Rajabhat University, Thailand 1 aporn.pi@skru.ac.th Received: August 14, 2024; Revised: November 17, 2024; Accepted: December 30, 2024 บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล 2) ศึกษาผลการใช้หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมและประเมินผล คือ 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล โดยใช้ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 2.2) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล โดย ใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล จํานวน 6 หน่วย คือ (1) ลักษณะทั่วไปทางภูมิศาสตร์(2) ประวัติความเป็นมาของจังหวัดสตูล (3) ลักษณะทางประชากร 1อาจารย์ ดร. สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 46 | MCU Ubonratchathani Journal of Buddhist Studies, Vol.6 No.3 (September-December, 2024) และบุคคลสําคัญ (4) ลักษณะทางเศรษฐกิจ (5) ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และ(6) การ อนุรักษ์และแนวทางแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความต้องการให้ได้หน่วยการ เรียนรู้อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีความสอดคล้องในระดับมากทุก ข้อคือ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ประวัติความเป็นมาของจังหวัดสตูล ลักษณะทางประชากร ลักษณะ ทางเศรษฐกิจ ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32, 4.39, 4.18, 4.25, 4.38 และ 4.13 ตามลําดับ องค์ประกอบ ของหน่วยการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.99 และ 2) ผลการใช้ หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง เมืองสตูล ที่ประเมิน (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีคะแนนเฉลี่ย 80.24 ระดับดีมาก คะแนนรายบุคคลอยู่ในระดับดีมาก ระดับดีและระดับปานกลาง จํานวน 15, 12 และ 3 คน ตามลําดับ ด้านความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ความพึง พอใจหลังเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านผลลัพธ์การ เรียนรู้และด้านการวัดและประเมินผล ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50, 4.69 และ 4.30 และมีความพึงพอใจ ในระดับมาก 2 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาสาระ และด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 และ 4.30 ตามลําดับ คําสําคัญ : หน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น, เมืองสตูล, วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model Abstract The purpose of this research were 1) develop a local learning unit on Satun City 2) study the results of using a local learning unit on Satun City using the CIPPA Model learning management method in the social studies, religion and learning subjects. culture and evaluate the results as follows: 2.1) Academic achievement of students who study with the local learning unit on Satun City using the CIPPA Model learning management method in the social studies, religion and culture learning subject group. 2.2) Satisfaction of students studying with the local learning unit on Satun City using the CIPPA Model learning management method in the social studies, religion and culture subject group, using participatory action research. together with experimental research. The results of the research found that 1) there were 6 local learning units on Satun City, namely (1) general geographic characteristics (2) history of Satun Province (3) demographic characteristics and important people (4) economic characteristics (5) social and cultural characteristics and (6) conservation and solutions to natural resource and environmental วารสารพุทธศาสตร์มจร อุบลราชธานี ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2567) | 47 problems. The demand for learning units is at a high level. The average was 4.24. When considering each item, there was a high level of consistency in all items, namely geographic characteristics. History of Satun Province Demographic characteristics economic characteristics Social and cultural characteristics and conservation of natural resources and the environment the average values were 4.32, 4.39, 4.18, 4.25, 4.38, and 4.13, respectively. The learning unit components were appropriate at the highest level. the average was 4.99 and 2) the results of using the local learning unit on Satun City that assessed (1) academic achievement there was an average score of 80.24, very good level. Individual scores were at very good level, good level, and moderate level, totaling 15, 12, and 3 people, respectively, in terms of satisfaction. at the highest level the average was 4.51. Satisfaction after studying. At the highest level in 3 areas: organizing learning activities Learning outcomes and measurement and evaluation the averages were 4.50, 4.69, and 4.30 and there was a high level of satisfaction in 2 areas: content. and media and learning resources the average values were 4.35 and 4.30, respectively. Keywords: local learning unit, Satun city, CIPPA Model learning management method |