รายละเอียดข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่

ชื่อบทความ ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองสงขลา” โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivism ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ประเภทการตีพิมพ์ วารสารวิชาการระดับชาติ
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร วารพุทธศาสตร์ มจร.อุบลราชธานี
ผู้แต่ง -
พนัชกร พิทธิยะกุล
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ 31 ส.ค. 2567
ปีที่ ปีที่ 6 เล
ฉบับที่ ฉบับที่ 2
หมายเลขหน้า 1915-1926
ลักษณะบทความ
Abstract บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ด้วยหน่วย
การเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองสงขลา”โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivisim ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2) ศึกษาความพึงพอใจที่เรียนด้วยหน่วย
การเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองสงขลา” โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivisim
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ
ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวิเชียรชม อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จำนวน 30 คน
ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการจัด การเรียนรู้ตามแนวคิด
Constructivisim จำนวน 6 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน เรื่อง “เมืองสงขลา”
1อาจารย์ ดร. สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
1916 | MCU Ubonratchathani Journal of Buddhist Studies, Vol.6 No.2 (May-August 2024)
และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐานและสถิติอ้างอิง ผลการวิจัย
พบว่า 1) ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองสงขลา”โดยใช้วิธีการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivisim ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.21 ซึ่งผ่านเกณฑ์ในระดับดีมาก และ 2) ความพึงพอใจของ
ผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยหน่วยการเรียนรู้ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองสงขลา” โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวคิด Constructivisim ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาพรวมอยู่
ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้เรียนมีระดับความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากสุด คือ ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 ด้านการวัดผลประเมินผลค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 ด้านเนื้อหาค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.31 ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ตามลำดับ
คำสำคัญ : เมืองสงขลา ,วิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Constructivisim
Abstract
The purpose of this research were 1) to study the results of learning
management with a local learning unit on the topic “Songkhla City” using learning
management methods according to the concept Constructivism in the social studies,
religion, and culture learning group. 2) study satisfaction with learning with the local
learning unit on "Songkhla City" using the learning management method according to the
concept. Constructivism In the learning subject group Social Studies, Religion and Culture,
the sample used in the study was Grade 6 students at Wichianchom School. Mueang
Songkhla District, Songkhla Province, 30 people using a simple random method. The
tools used include: 1) a learning management plan based on the concept Constructivisim,
6 plans, 2) learning achievement test on the topic “Songkhla City” and 3) satisfaction
assessment form Analyze data with basic and reference statistics.The results of the
research found that 1) the results of learning management with a local learning unit on
the topic "Songkhla City" using learning management methods according to the concept
Constructivism In the social studies, religion and culture learning subject group, the
average score was 80.21 percent, which passed the criteria at a very good level, and 2)
the satisfaction of students learning with the local learning unit on “Songkhla City” using
the method organize learning according to concepts Constructivism In the social studies,
วารสารพุทธศาสตร์มจร อุบลราชธานี ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2567)| 1917
religion and culture learning subjects, the overall level was at a high level. (The average
was equal to 4.40) When considering each aspect, it was found that the students had the
highest level of satisfaction, namely the learning outcomes. The average was 4.69,
followed by the organizing of learning activities, the average was 4.44, the evaluation
measurement was 4.43, the content was 4.31, and the media and learning resources. The
average is 4.30 respectively.
Keywords: Songkhla city, methods of organizing learning according to the concept
Constructivism