ชื่อบทความ | การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคใต้: ซัมเป็ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา. |
---|---|
ประเภทการตีพิมพ์ | วารสารวิชาการระดับชาติ |
ชื่องานประชุมวิชาการ/วารสาร | วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ |
ผู้แต่ง |
นางสาววิไลลักษณ์ ลบลาย จุไรศิริ ชูรักษ์ |
วันที่ตีพิมพ์/นำเสนอ | 6 มี.ค. 2567 |
ปีที่ | 6 |
ฉบับที่ | 1 |
หมายเลขหน้า | 112-133 |
ลักษณะบทความ | |
Abstract | การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคใต้ : ซัมเป็ง ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา 2)เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ของนักเรียน หลังการจัดการเรียนรู้ 3)เพื่อเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ กับเกณฑ์ร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับคะแนนเต็มและ 4)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยมีแบบแผนการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอนคือ1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้2) สร้างและหาคุณภาพหน่วยการเรียนรู้3) ศึกษาผลการใช้หน่วยการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคใต้ : ซัมเป็งกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/16 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา จ านวน 30 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย1) หน่วยการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ 3) แบบประเมินทักษะปฏิบัติ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t -test แบบกลุ่มตัวอย่างไม่อิสระจากกันผลการวิจัยพบว่า หน่วยการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคใต้ : ซัมเป็ง ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาประกอบด้วย (1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (2) ผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้ (3) ตารางความสัมพันธ์ของมาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ผลการเรียนรู้และเวลา (4) เวลาเรียน (5) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (6) สื่อ/แหล่งการเรียนรู้(7) การวัดและการประเมินผล และ (8) แผนการจัดการเรียนรู้จ านวน 3 แผน ระยะเวลา 8 ชั่วโมง นอกจากนี้ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะปฏิบัติการแสดงซัมเป็ง หลังการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมผ่านเกณฑ์ที่ก าหนดร้อยละ 70 และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก The objectives of this research were: 1) to develop the southern folk dance learning unit of Zapinfor grade 10 students at Woranari Chaloem Songkhla School,2) to study the academic achievement of grade 10 students in terms of knowledge after the learning management, 3) to compare the Zapin performance skills of grade 10 students to the criteria of 70percent after the learning management, 4) to study the students satisfaction with learning management using the southern folk dance learning unit of Zapin. The research methodology was based on Research and Development (R&D) procedure with three main steps as follows: 1) Studying the basic information on the development of southern folk dance learning unit of Zapin 2) Creating the southern folk dance learning unit of Zapin and finding its quality 3) Studying the results of southern folk dance learning unit of Zapin. The sample group in the third step consisted of 30 grade 10 students in 4/16 class in the first semester of the academic year 2023 at Woranari Chaloem Songkhla School. This group was obtained by the cluster random sampling method. The research instruments consisted of 1) the southern folk dance learning unit of Zapin prepared for grade 10 students, 2) the achievement test that measures knowledge, 3) the achievement test in practical skills, and 4) the questionnaire of satisfaction with learning management using the southern folk dance learning unit of Zapin. The statistics used for data analysis were average, standard deviation, and t-test for dependent samples. The results indicated that the learning unit comprised (1) the title of learning unit, (2) the concept map of learning unit, (3) the table of relationships among learning standards, learning content, expected learning outcomes, and time, (4) class time, (5) guidelines to learning activities, (6) media/learning resources, (7) the measurement and evaluation, (8) three learning management plans covering 8 hours. Moreover, the post-test score of knowledge of grade 10 students after learning through the southern folk dance learning unit of Zapin was statistically higher than the pre-test score at the significance level of .01. Regarding the achievement of Zapin performance skills of grade 10 students after the learning management, the overall score was higher than the criteria of 70 percent. Lastly, the students overall satisfaction with the learning management was at a high level. |